เค้าโครงบรรยายวิชา EC452
แนวการบรรยาย “เศรษฐศาสตร์การเงินระหว่างประเทศ” (ศ.452)
(EC 452: International Monetary Economics)
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2549
คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
.....................
ผู้สอน: นายปกป้อง จันวิทย์ (pokpongj@econ.tu.ac.th)
Office Hours: ห้อง 472 ทุกวันพุธและศุกร์ เวลา 10.00-12.00 น. หรือตามนัดหมาย
เว็บไซต์: http://ec452.blogspot.com
Group Email: ec452_2@yahoogroups.com
เวลาเรียน: sec06 ทุกวันพุธและศุกร์ 8.00-9.30 น.
ห้องเรียน: คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วิชาบังคับก่อน: ศ.312 : ทฤษฎีรายได้และการจ้างงาน
คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ กลไกการปรับตัวของดุลการชำระเงิน ตลาดเงินตรา และตลาดการเงินระหว่างประเทศ การเคลื่อนย้ายเงินทุนระหว่างประเทศ ความสำคัญของดุลบัญชีเดินสะพัดและดุลการชำระเงินต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศกำลังพัฒนาและของไทย
หนังสือหลัก
Hallwood, C. Paul and Ronald MacDonald. 2000. International Money and Finance. 3rd edition. Blackwell Publishers. (HM)
Caves, Richard, Jeffrey Frankel, and Ronald Jones. 2001. World Trade and Payments .9th Edition. Addison Wesley. (CFJ)
หนังสือรอง
Baker Dean, Gerald Epstein and Robert Pollin (ed.). 1998. Globalization and Progressive Economic Policy. Cambridge University Press.
Blecker, Robert. 1999. Taming Global Finance: Architecture for Growth and Equity. Economic Policy Institute.
Block, Fred. 1977. The Origins of International Economic Disorder: A Study of U.S. International Monetary Policy from WWII to the Present. Berkeley: University of California Press.
Chang, Ha-Joon and Ilene Grabel. 2004. Reclaiming Development: An Alternative Economic Policy Manual. Zed Press.
Dornbusch, Rudiger. 1980. Open Economy Macroeconomics. New York: Basic Books.
Eichengreen, Barry. 2002. Financial Crises and What to Do about Them. Oxford University Press.
Epstein, Gerald (ed.). 2005. Financialization and the World Economy. Edward Elgar.
Helleiner, Eric. 1994. States and the Resurgence of Global Finance: From Bretton Woods to the 1990's. Cornell University Press.
Krugman, Paul and Maurice Obstfeld. 2006. International Economics. 7th edition. Addison Wesley. (KO)
Pollin, Robert. 2003. Contours of Descent. Verso.
รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์. 2538. สังคมเศรษฐกิจไทยในทศวรรษ 2550. โครงการจัดพิมพ์คบไฟ
รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์. 2548. ฉันทมติวอชิงตัน. โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.
เกษียร เตชะพีระ. 2537. วิวาทะโลกานุวัตร. สำนักพิมพ์ผู้จัดการ
การวัดผล
1. คะแนนกิจกรรมในและนอกห้องเรียน 30%
2. คะแนนสอบกลางภาค 30%
3. คะแนนสอบปลายภาค 40%
.....................................
เนื้อหาวิชา
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์การเงินระหว่างประเทศ
1.1 โลกาภิวัตน์ (Globalization)
หนังสืออ่านประกอบ:
(1) รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์. 2538. สังคมเศรษฐกิจไทยในทศวรรษ 2550. โครงการจัดพิมพ์คบไฟ
(2) เกษียร เตชะพีระ. 2537. วิวาทะโลกานุวัตร. สำนักพิมพ์ผู้จัดการ
1.2 ดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ (Balance of Payments)
1.2.1 Current Account
1.2.2 Capital Account: Foreign Direct Investment (FDI) and Portfolio Investment
1.2.3 International Reserves
1.2.4 Degree of Openness
1.2.5 BOP ของประเทศไทย
หนังสืออ่านประกอบ:
(1) CFJ บทที่ 15
(2) HM บทที่ 2
(3) KO บทที่ 12
(4) เอกสารข้อมูล BOP จากเว็บไซต์ธนาคารแห่งประเทศไทย
1.3 ตลาดเงินตราต่างประเทศ (Foreign Exchange Market)
1.4 อัตราแลกเปลี่ยน (Exchange Rates)
1.4.1 Spot Rates
1.4.2 Forward Rates
1.4.3 Swaps, Futures and Options
1.4.4 Arbitrage and Speculations
1.5 Purchasing Power Parity (PPP)
1.5.1 Absolute PPP
1.5.2 Relative PPP
1.6 Real Exchange Rates
1.7 Interest Parity
1.7.1 Covered Interest Rate Parity
1.7.2 Uncovered Interest Rate Parity
1.8 Exchange Rate Regime
1.8.1 Fixed Exchange Rate Regime
1.8.2 Flexible Exchange Rate Regime
1.9 การดำเนินนโยบายเศรษฐกิจมหภาคภายใต้ระบบเศรษฐกิจเปิด
1.9.1 Internal Balance
1.9.2 External Balance
หนังสืออ่านประกอบ:
(1) HM บทที่ 2 และ 7
(2) KO บทที่ 13 และ 15
(3) CFJ บทที่ 25
2. ประวัติศาสตร์ฉบับย่นย่อของระบบการเงินระหว่างประเทศ
2.1 Gold Standard
2.2 Interwar Period
2.2 Bretton Woods: The Dollar Standard
2.3 Floating Exchange Rate Era
2.4 International Monetary Fund (IMF)
หนังสืออ่านประกอบ:
1. Block
2. Helleiner
3. HM บทที่ 16, 17, 20
4. KO บทที่ 18
3. เศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยโลกาภิวัตน์ (Globalization) และ ระบบการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary System)
2.1 เศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยโลกาภิวัตน์
2.2 อุดมการณ์เสรีนิยมใหม่ (Neo-liberalism) และฉันทมติวอชิงตัน (Washington Consensus)
2.3 ระบบการเงินระหว่างประเทศ: ภาพรวม ประเด็นศึกษา และวิวาทะ
หนังสืออ่านประกอบ:
1. Baker, Epstein and Pollin (ed.) บทที่ 1 หน้า 1-34.
2. Blecker, Robert. “Financial Globalization, Exchange rates and International Trade” in Epstein (ed.)
3. Eichengreen, Barry. 2001. “Capital Account Liberalization: What do the Cross-Country Studies Tell Us? “ The World Bank Economic Review, Vol. 15, No. 3, 341-365
4. Epstein (ed.) บทที่ 1
5. Felix, David. 2003. “The Past as Future: The Contribution of Financial Globalization to the Current Crisis of Neo-liberalism as a Development Strategy”. PERI Working Paper No. 69.
6. Pollin, Robert. 2002. “Globalization and the Transition to Egalitarian Development”. PERI Working Paper No.42.
7. Sen, Amartya. 2002. “How to Judge Globalism?”. The American Prospect Vol. 13 no. 1, January 1, 2002 - January 14, 2002.
8. รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์. 2548. ฉันทมติวอชิงตัน. โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.
4. โมเดลเศรษฐศาสตร์การเงินระหว่างประเทศ (International Financial Models)
4.1 Models without capital mobility
4.1.1 The Specie Flow Mechanism
4.1.2 The Elasticity Approach
4.1.3 The Absorption Approach
4.1.4 The Swan Diagram and the Assignment Problem
4.1.5 The Two-country Model with Repercussion Effects
4.1.6 The Monetary Approach
4.2 Fundamentals-based Models with Capital Mobility
4.2.1 The Mundell-Fleming Model
4.2.1 The Impossible Trinity
4.2.2 The Asset Approach and the Portfolio Balance Model
4.2.3 Exchange Rate Overshooting Model
4.2.4 The Intertemporal Approach to the Current Account
4.2.5 Balance-of-Payments-Constrained Growth
4.3 Models of Speculative Behavior and Financial Instability
4.3.1 Random Walks
4.3.2 Speculative Bubbles and Herd Behavior
4.3.3 Speculative Attacks on Pegged Exchange Rate
4.3.4 Contagion Effects
4.3.5 Self-fulfilling Panics
หนังสืออ่านประกอบ:
1. Blecker. 1999.
2. HM บทที่ 3, 4, 5, 6, 8, 9, 11
3. CFJ บทที่ 16, 17, 18, 19, 22, 23, 24, 25
5. วิกฤตการณ์การเงิน (Financial Crisis) และทางออก
5.1 วิกฤตการณ์เงินตรา (Currency Crisis)
5.2 ทวิวิกฤต (Twin Crisis)
5.3 วิกฤตการณ์การเงินในประเทศกำลังพัฒนา
5.4 วิกฤตการณ์การเงินไทย
5.5 ข้อเสนอว่าด้วยการปฏิรูประบบสถาปัตยกรรมการเงินโลก
5.6 ข้อเสนอว่าด้วยนโยบายเศรษฐกิจทางเลือก
หนังสืออ่านประกอบ
1. HM บทที่ 14, 19, 21, 23, 24
2. Blecker. 1999.
3. Eichengreen. 2002.
4. Grabel, Ilene "Averting Crisis? Assessing Measures to Manage Financial Integration in Emerging Economies" in Epstein (ed.)
5. Pollin บทที่ 6
6. คณะกรรมการศึกษาและเสนอแนะมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการระบบการเงินของประเทศ (ศ.ป.ร.). 2541. รายงานผลการวิเคราะห์และวินิจฉัยข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสถานการณ์วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ.
7. อัมมาร สยามวาลา. 2542. นักเศรษฐศาสตร์ฝรั่งมองวิกฤตเอเชีย: บทสำรวจความรู้. สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย.
8. เฉลิมพงษ์ คงเจริญ. 2548. พัฒนาการแบบจำลองวิกฤตการณ์เงินตรา: บทปริทัศน์งานวิชาการ. เอกสารวิชาการหมายเลข 703 โครงการวิจัยเรื่อง วิกฤตการณ์การเงินไทย 2540.
(EC 452: International Monetary Economics)
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2549
คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
.....................
ผู้สอน: นายปกป้อง จันวิทย์ (pokpongj@econ.tu.ac.th)
Office Hours: ห้อง 472 ทุกวันพุธและศุกร์ เวลา 10.00-12.00 น. หรือตามนัดหมาย
เว็บไซต์: http://ec452.blogspot.com
Group Email: ec452_2@yahoogroups.com
เวลาเรียน: sec06 ทุกวันพุธและศุกร์ 8.00-9.30 น.
ห้องเรียน: คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วิชาบังคับก่อน: ศ.312 : ทฤษฎีรายได้และการจ้างงาน
คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ กลไกการปรับตัวของดุลการชำระเงิน ตลาดเงินตรา และตลาดการเงินระหว่างประเทศ การเคลื่อนย้ายเงินทุนระหว่างประเทศ ความสำคัญของดุลบัญชีเดินสะพัดและดุลการชำระเงินต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศกำลังพัฒนาและของไทย
หนังสือหลัก
Hallwood, C. Paul and Ronald MacDonald. 2000. International Money and Finance. 3rd edition. Blackwell Publishers. (HM)
Caves, Richard, Jeffrey Frankel, and Ronald Jones. 2001. World Trade and Payments .9th Edition. Addison Wesley. (CFJ)
หนังสือรอง
Baker Dean, Gerald Epstein and Robert Pollin (ed.). 1998. Globalization and Progressive Economic Policy. Cambridge University Press.
Blecker, Robert. 1999. Taming Global Finance: Architecture for Growth and Equity. Economic Policy Institute.
Block, Fred. 1977. The Origins of International Economic Disorder: A Study of U.S. International Monetary Policy from WWII to the Present. Berkeley: University of California Press.
Chang, Ha-Joon and Ilene Grabel. 2004. Reclaiming Development: An Alternative Economic Policy Manual. Zed Press.
Dornbusch, Rudiger. 1980. Open Economy Macroeconomics. New York: Basic Books.
Eichengreen, Barry. 2002. Financial Crises and What to Do about Them. Oxford University Press.
Epstein, Gerald (ed.). 2005. Financialization and the World Economy. Edward Elgar.
Helleiner, Eric. 1994. States and the Resurgence of Global Finance: From Bretton Woods to the 1990's. Cornell University Press.
Krugman, Paul and Maurice Obstfeld. 2006. International Economics. 7th edition. Addison Wesley. (KO)
Pollin, Robert. 2003. Contours of Descent. Verso.
รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์. 2538. สังคมเศรษฐกิจไทยในทศวรรษ 2550. โครงการจัดพิมพ์คบไฟ
รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์. 2548. ฉันทมติวอชิงตัน. โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.
เกษียร เตชะพีระ. 2537. วิวาทะโลกานุวัตร. สำนักพิมพ์ผู้จัดการ
การวัดผล
1. คะแนนกิจกรรมในและนอกห้องเรียน 30%
2. คะแนนสอบกลางภาค 30%
3. คะแนนสอบปลายภาค 40%
.....................................
เนื้อหาวิชา
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์การเงินระหว่างประเทศ
1.1 โลกาภิวัตน์ (Globalization)
หนังสืออ่านประกอบ:
(1) รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์. 2538. สังคมเศรษฐกิจไทยในทศวรรษ 2550. โครงการจัดพิมพ์คบไฟ
(2) เกษียร เตชะพีระ. 2537. วิวาทะโลกานุวัตร. สำนักพิมพ์ผู้จัดการ
1.2 ดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ (Balance of Payments)
1.2.1 Current Account
1.2.2 Capital Account: Foreign Direct Investment (FDI) and Portfolio Investment
1.2.3 International Reserves
1.2.4 Degree of Openness
1.2.5 BOP ของประเทศไทย
หนังสืออ่านประกอบ:
(1) CFJ บทที่ 15
(2) HM บทที่ 2
(3) KO บทที่ 12
(4) เอกสารข้อมูล BOP จากเว็บไซต์ธนาคารแห่งประเทศไทย
1.3 ตลาดเงินตราต่างประเทศ (Foreign Exchange Market)
1.4 อัตราแลกเปลี่ยน (Exchange Rates)
1.4.1 Spot Rates
1.4.2 Forward Rates
1.4.3 Swaps, Futures and Options
1.4.4 Arbitrage and Speculations
1.5 Purchasing Power Parity (PPP)
1.5.1 Absolute PPP
1.5.2 Relative PPP
1.6 Real Exchange Rates
1.7 Interest Parity
1.7.1 Covered Interest Rate Parity
1.7.2 Uncovered Interest Rate Parity
1.8 Exchange Rate Regime
1.8.1 Fixed Exchange Rate Regime
1.8.2 Flexible Exchange Rate Regime
1.9 การดำเนินนโยบายเศรษฐกิจมหภาคภายใต้ระบบเศรษฐกิจเปิด
1.9.1 Internal Balance
1.9.2 External Balance
หนังสืออ่านประกอบ:
(1) HM บทที่ 2 และ 7
(2) KO บทที่ 13 และ 15
(3) CFJ บทที่ 25
2. ประวัติศาสตร์ฉบับย่นย่อของระบบการเงินระหว่างประเทศ
2.1 Gold Standard
2.2 Interwar Period
2.2 Bretton Woods: The Dollar Standard
2.3 Floating Exchange Rate Era
2.4 International Monetary Fund (IMF)
หนังสืออ่านประกอบ:
1. Block
2. Helleiner
3. HM บทที่ 16, 17, 20
4. KO บทที่ 18
3. เศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยโลกาภิวัตน์ (Globalization) และ ระบบการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary System)
2.1 เศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยโลกาภิวัตน์
2.2 อุดมการณ์เสรีนิยมใหม่ (Neo-liberalism) และฉันทมติวอชิงตัน (Washington Consensus)
2.3 ระบบการเงินระหว่างประเทศ: ภาพรวม ประเด็นศึกษา และวิวาทะ
หนังสืออ่านประกอบ:
1. Baker, Epstein and Pollin (ed.) บทที่ 1 หน้า 1-34.
2. Blecker, Robert. “Financial Globalization, Exchange rates and International Trade” in Epstein (ed.)
3. Eichengreen, Barry. 2001. “Capital Account Liberalization: What do the Cross-Country Studies Tell Us? “ The World Bank Economic Review, Vol. 15, No. 3, 341-365
4. Epstein (ed.) บทที่ 1
5. Felix, David. 2003. “The Past as Future: The Contribution of Financial Globalization to the Current Crisis of Neo-liberalism as a Development Strategy”. PERI Working Paper No. 69.
6. Pollin, Robert. 2002. “Globalization and the Transition to Egalitarian Development”. PERI Working Paper No.42.
7. Sen, Amartya. 2002. “How to Judge Globalism?”. The American Prospect Vol. 13 no. 1, January 1, 2002 - January 14, 2002.
8. รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์. 2548. ฉันทมติวอชิงตัน. โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.
4. โมเดลเศรษฐศาสตร์การเงินระหว่างประเทศ (International Financial Models)
4.1 Models without capital mobility
4.1.1 The Specie Flow Mechanism
4.1.2 The Elasticity Approach
4.1.3 The Absorption Approach
4.1.4 The Swan Diagram and the Assignment Problem
4.1.5 The Two-country Model with Repercussion Effects
4.1.6 The Monetary Approach
4.2 Fundamentals-based Models with Capital Mobility
4.2.1 The Mundell-Fleming Model
4.2.1 The Impossible Trinity
4.2.2 The Asset Approach and the Portfolio Balance Model
4.2.3 Exchange Rate Overshooting Model
4.2.4 The Intertemporal Approach to the Current Account
4.2.5 Balance-of-Payments-Constrained Growth
4.3 Models of Speculative Behavior and Financial Instability
4.3.1 Random Walks
4.3.2 Speculative Bubbles and Herd Behavior
4.3.3 Speculative Attacks on Pegged Exchange Rate
4.3.4 Contagion Effects
4.3.5 Self-fulfilling Panics
หนังสืออ่านประกอบ:
1. Blecker. 1999.
2. HM บทที่ 3, 4, 5, 6, 8, 9, 11
3. CFJ บทที่ 16, 17, 18, 19, 22, 23, 24, 25
5. วิกฤตการณ์การเงิน (Financial Crisis) และทางออก
5.1 วิกฤตการณ์เงินตรา (Currency Crisis)
5.2 ทวิวิกฤต (Twin Crisis)
5.3 วิกฤตการณ์การเงินในประเทศกำลังพัฒนา
5.4 วิกฤตการณ์การเงินไทย
5.5 ข้อเสนอว่าด้วยการปฏิรูประบบสถาปัตยกรรมการเงินโลก
5.6 ข้อเสนอว่าด้วยนโยบายเศรษฐกิจทางเลือก
หนังสืออ่านประกอบ
1. HM บทที่ 14, 19, 21, 23, 24
2. Blecker. 1999.
3. Eichengreen. 2002.
4. Grabel, Ilene "Averting Crisis? Assessing Measures to Manage Financial Integration in Emerging Economies" in Epstein (ed.)
5. Pollin บทที่ 6
6. คณะกรรมการศึกษาและเสนอแนะมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการระบบการเงินของประเทศ (ศ.ป.ร.). 2541. รายงานผลการวิเคราะห์และวินิจฉัยข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสถานการณ์วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ.
7. อัมมาร สยามวาลา. 2542. นักเศรษฐศาสตร์ฝรั่งมองวิกฤตเอเชีย: บทสำรวจความรู้. สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย.
8. เฉลิมพงษ์ คงเจริญ. 2548. พัฒนาการแบบจำลองวิกฤตการณ์เงินตรา: บทปริทัศน์งานวิชาการ. เอกสารวิชาการหมายเลข 703 โครงการวิจัยเรื่อง วิกฤตการณ์การเงินไทย 2540.
0 Comments:
Post a Comment
<< Home